ลักษณะธรรมชาติของเห็ดหลินจือ
เห็ดหลินจือจัดเป็นเห็ดที่เจริญเติบโตดีในธรรมชาติ โดยเจริญเติบโตตามโคนต้นไม้ในเขต อบอุ่นและเขตร้อน
จะเจริญได้ดีบนตอไม้ที่ตายแล้ว เช่น ต้นคูน ก้ามปู หางนกยูง ยางพาราเป็นต้น
ส่วนประกอบของเห็ดหลินจือ
-หมวกดอก อาจเกิดเป็นดอกเดี่ยวหรือเป็นกลุ่ม ๆ ละ 3-4 ดอกที่มีโคนดอกติดกัน ดอกเห็ดเมื่อยังอ่อนอยู่ จะมีสีขาวหรือสีเหลือง กลางหมวกดอกจะมีสีน้ำตาล แต่ถ้าเจริญเติบโตเต็มที่แล้วขอบหมวกจะงองุ้มลง สีของหมวกดอกจะเข้มมากขึ้น
เนื้อเยื่อภายในดอกเห็ดจะมีเส้นใยสีน้ำตาล ผิวของหมวกดอกมีลักษณะเป็น เงาคล้ายทาด้วยแชลแลคมีสีน้ำตาลแดง
-ครีบดอก ใต้หมวกดอกมีลักษณะเป็นรูเล็กสีขาวหรือสีเหลืองจำนวนมาก ภายในรูเป็นแหล่งกำเนิดของสปอร์
เมื่อเจริญเต็มที่จะมีการสร้างสปอร์และปล่อยออกมามากมาย บางส่วนจะปลิวตกลงพื้นแต่บางส่วนจะ ลอยขึ้นไปปกคลุมผิวของหมวกดอก สปอร์มีลักษณะเป็นผงสีน้ำตาล เมื่อนำมาชิมดูจะพบว่ามีรสขม
-ก้านดอก เห็ดหลินจืออาจจะมีก้านดอกหรือไม่ก็ได้ โดยเฉพาะเห็ดหลินจือที่ขึ้นตามตอไม้อาจไม่พบก้านดอก
ก้านดอกอาจจะอยู่กึ่งกลางหรือค่อนไปข้างใดข้างหนึ่งของหมวกดอกก็ได้
การเพาะเห็ดหลินจือในถุงพลาสติก
สูตรอาหารสำหรับเพาะเห็ดหลินจือที่ใช้กันในประเทศไทยมีหลายสูตร เช่น
- สูตรที่ 1
ขี้เลื่อยไม้ยางพารา 100 กิโลกรัม
รำละเอียด 5 กิโลกรัม
ปูนขาว 1 กิโลกรัม
ดีเกลือ 0.2 กิโลกรัม
น้ำ พอประมาณ
รำละเอียด 5 กิโลกรัม
ปูนขาว 1 กิโลกรัม
ดีเกลือ 0.2 กิโลกรัม
น้ำ พอประมาณ
- สูตรที่ 2
ขี้เลื่อยไม้ยางพารา 100 กิโลกรัม
รำละเอียด 3 กิโลกรัม
น้ำตาลทราย 2 กิโลกรัม
น้ำ พอประมาณ
รำละเอียด 3 กิโลกรัม
น้ำตาลทราย 2 กิโลกรัม
น้ำ พอประมาณ
- สูตรที่ 3
ขี้เลื่อยไม้ยางพารา 75 กิโลกรัม
รำละเอียด 24 กิโลกรัม
ปูนขาว 1 กิโลกรัม
น้ำ พอประมาณ
รำละเอียด 24 กิโลกรัม
ปูนขาว 1 กิโลกรัม
น้ำ พอประมาณ
- สูตรที่ 4
ขี้เลื่อยไม้เบญจพรรณ 100 กิโลกรัม
ปูนขาว 1 กิโลกรัม
แอมโมเนียซัลเฟต(21-0-0) 2 กิโลกรัม
นำส่วนผสมข้างต้นคลุกกันแล้วปรับความชื้นให้สม่ำเสมอ หมักทิ้งไว้ 2
เดือนโดยกลับกองทุก ๆ 15 วัน เมื่อได้ที่แล้วนำมาผสมตามอัตราส่วนดังนี้
ขี้เลื่อยที่หมักดีแล้ว 100 กิโลกรัม
รำละเอียด 3 กิโลกรัม
น้ำตาลทราย 2 กิโลกรัม
วิธีการทำก้อนเชื้อเห็ดหลินจือ
ปูนขาว 1 กิโลกรัม
แอมโมเนียซัลเฟต(21-0-0) 2 กิโลกรัม
นำส่วนผสมข้างต้นคลุกกันแล้วปรับความชื้นให้สม่ำเสมอ หมักทิ้งไว้ 2
เดือนโดยกลับกองทุก ๆ 15 วัน เมื่อได้ที่แล้วนำมาผสมตามอัตราส่วนดังนี้
ขี้เลื่อยที่หมักดีแล้ว 100 กิโลกรัม
รำละเอียด 3 กิโลกรัม
น้ำตาลทราย 2 กิโลกรัม
วิธีการทำก้อนเชื้อเห็ดหลินจือ
ให้ปฏิบัติดังนี้
-นำส่วนผสมต่าง ๆ มาคลุกเคล้าผสมให้เข้ากัน
-เติมน้ำลงไปผสมและทดสอบความชื้นโดยนำส่วนผสมมา กำดูถ้าไม่มีน้ำไหลออกตามง่ามมือและ เมื่อแบมือออกส่วนผสมยังจับกันเป็นก้อนก็ใช้ได้
-บรรจุส่วนผสมลงในถุงพลาสติกทนร้อนขนาด6.5x12.5 นิ้ว ถุงละ 8-9 ขีด แล้วอัดให้แน่น สวมคอขวดพลาสติก จุกด้วยสำลีและหุ้มด้วยกระดาษ
-นำไปนึ่งกับหม้อนึ่งลูกทุ่ง นานประมาณ 2-3 ชั่วโมงนับจากน้ำเดือด
-เมื่อถุงขี้เลื่อยเย็นจึงใส่เชื้อเห็ดที่เลี้ยงบนเมล็ดข้าวฟ่างลงไป
-นำไปบ่มที่อุณหภูมิ 28-32 องศาเซลเซียส ประมาณ 1 เดือน เส้นใยจะเดินเต็มถุง จากนั้นบ่มต่ออีก 7-10 วัน
เพื่อให้เชื้อรัดตัวและพร้อมที่จะเจริญเป็นดอก
-การเปิดดอกให้เปิดในโรงเรือนที่มีความชื้นประมาณ 75-85 เปอร์เซ็นต์โดยดึงจุกสำลีออก
สรรพคุณของเห็ดหลินจือในการรักษาโรค
เห็ดหลินจือเห็นเห็ดสมุนไพรซึ่งเชื่อกันว่าเป็นยาอายุวัฒนะ ทำให้ผู้บริโภคมีสุขภาพแข็งแรงแลมีอายุยืนยาว
เห็ดชนิดนี้จะช่วยทำให้ระบบทั้ง 3 ของร่างกาย ทำงานได้อย่างปกติสมบูรณ์ขึ้นด้วย คือ
1.ระบบทางเดินอาหาร ได้แก่ โรคกระเพาะอักเสบ ลำไส้อักเสบ
2.ระบบทางเดินหายใจ ได้แก่โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง โรคหืด
3.ระบบไหลเวียนของโลหิต ได้แก่ ความดัน โรคหัวใจ รอบเดือนของสตรี นอกจากนี้ยังช่วยบรรเทาอาการของโรคอื่น ๆ ได้แก่
โรคมะเร็ง เบาหวาน ไตอักเสบ โรคเก๊าท์ ตับแข็ง ท้องผูก เป็นต้น การใช้เห็ดหลินจือ
ในการรักษาจะมีผล ข้างเคียงอย่างเดียว คือ
-นำส่วนผสมต่าง ๆ มาคลุกเคล้าผสมให้เข้ากัน
-เติมน้ำลงไปผสมและทดสอบความชื้นโดยนำส่วนผสมมา กำดูถ้าไม่มีน้ำไหลออกตามง่ามมือและ เมื่อแบมือออกส่วนผสมยังจับกันเป็นก้อนก็ใช้ได้
-บรรจุส่วนผสมลงในถุงพลาสติกทนร้อนขนาด6.5x12.5 นิ้ว ถุงละ 8-9 ขีด แล้วอัดให้แน่น สวมคอขวดพลาสติก จุกด้วยสำลีและหุ้มด้วยกระดาษ
-นำไปนึ่งกับหม้อนึ่งลูกทุ่ง นานประมาณ 2-3 ชั่วโมงนับจากน้ำเดือด
-เมื่อถุงขี้เลื่อยเย็นจึงใส่เชื้อเห็ดที่เลี้ยงบนเมล็ดข้าวฟ่างลงไป
-นำไปบ่มที่อุณหภูมิ 28-32 องศาเซลเซียส ประมาณ 1 เดือน เส้นใยจะเดินเต็มถุง จากนั้นบ่มต่ออีก 7-10 วัน
เพื่อให้เชื้อรัดตัวและพร้อมที่จะเจริญเป็นดอก
-การเปิดดอกให้เปิดในโรงเรือนที่มีความชื้นประมาณ 75-85 เปอร์เซ็นต์โดยดึงจุกสำลีออก
สรรพคุณของเห็ดหลินจือในการรักษาโรค
เห็ดหลินจือเห็นเห็ดสมุนไพรซึ่งเชื่อกันว่าเป็นยาอายุวัฒนะ ทำให้ผู้บริโภคมีสุขภาพแข็งแรงแลมีอายุยืนยาว
เห็ดชนิดนี้จะช่วยทำให้ระบบทั้ง 3 ของร่างกาย ทำงานได้อย่างปกติสมบูรณ์ขึ้นด้วย คือ
1.ระบบทางเดินอาหาร ได้แก่ โรคกระเพาะอักเสบ ลำไส้อักเสบ
2.ระบบทางเดินหายใจ ได้แก่โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง โรคหืด
3.ระบบไหลเวียนของโลหิต ได้แก่ ความดัน โรคหัวใจ รอบเดือนของสตรี นอกจากนี้ยังช่วยบรรเทาอาการของโรคอื่น ๆ ได้แก่
โรคมะเร็ง เบาหวาน ไตอักเสบ โรคเก๊าท์ ตับแข็ง ท้องผูก เป็นต้น การใช้เห็ดหลินจือ
ในการรักษาจะมีผล ข้างเคียงอย่างเดียว คือ
- อาการคล้ายท้องเสียในช่วงต้น บางคนอาจไม่มีอาการแบบนี้เลย การรักษาและควบคุมโรคขึ้น อยู่กับอาการของโรคที่เป็น
และผู้ป่วยจะต้องควบคุมอาหาร(อาหารพวกปรุงแต่งมาก ๆ งดผงชูรส อาหารกระป๋อง เหล้า บุหรี่ อาหารประเภทเนื้อสัตว์โดย เฉพาะอาหารทะเล เพราะจะไปเร่งการเจริญเติบโตของเซลมะเร็ง) ปฏิบัติตัวให้มีสุขภาพ ที่ดีตามหลักความสมดุลธรรมชาติ แล้วผู้ป่วยก็จะมีโอกาสหายจากมะเร็งได้และสำหรับ ผู้ที่ปฏิบัติตัวได้ดีๆ ก็จะไม่เป็นโรคมะเร็งเลย
การบริโภคเห็ดหลินจือในการรักษาโรค
1.นำเห็ดหลินจือแห้งมาฝานจำนวน 5 กรัม ผสมกับน้ำ 1 ลิตร นำมาต้มแล้วเคี่ยวจนเหลือปริมาณน้ำ 0.5 ลิตร
นำมารับประทานได้
2.นำเห็ดหลินจือแห้งจำนวน 5 กรัม ผสมน้ำ 1 ลิตร นำมาต้มหรือเคี่ยวจนเหลือน้ำประมาณ 0.5 ลิตร นำมารับประทานได้
3.ถ้าต้องการแบบเข้มข้นให้นำน้ำสกัดจากข้อ1 ข้อ2 มาผสมกันแล้วนำไปเคี่ยวจนเหลือน้ำประมาณ 0.5 ลิตรก็ได้
4.ใช้เห็ดหลินจือฝานตามข้อ1 ประมาณ 5-10 ชิ้น ผสมน้ำ 2 ลิตร ต้มจนเดือดอ่อน ๆ นาน 15 นาที กรองน้ำใช้ดื่ม ดื่มน้ำต้มเห็ดหลินจือทุกวัน สุขภาพจะแข็งแรง
Credit : กองเกษตรสัมพันธ์ กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การบริโภคเห็ดหลินจือในการรักษาโรค
1.นำเห็ดหลินจือแห้งมาฝานจำนวน 5 กรัม ผสมกับน้ำ 1 ลิตร นำมาต้มแล้วเคี่ยวจนเหลือปริมาณน้ำ 0.5 ลิตร
นำมารับประทานได้
2.นำเห็ดหลินจือแห้งจำนวน 5 กรัม ผสมน้ำ 1 ลิตร นำมาต้มหรือเคี่ยวจนเหลือน้ำประมาณ 0.5 ลิตร นำมารับประทานได้
3.ถ้าต้องการแบบเข้มข้นให้นำน้ำสกัดจากข้อ1 ข้อ2 มาผสมกันแล้วนำไปเคี่ยวจนเหลือน้ำประมาณ 0.5 ลิตรก็ได้
4.ใช้เห็ดหลินจือฝานตามข้อ1 ประมาณ 5-10 ชิ้น ผสมน้ำ 2 ลิตร ต้มจนเดือดอ่อน ๆ นาน 15 นาที กรองน้ำใช้ดื่ม ดื่มน้ำต้มเห็ดหลินจือทุกวัน สุขภาพจะแข็งแรง
Credit : กองเกษตรสัมพันธ์ กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น